ยินดีเข้าสู่ Blogger ของ น.ส อรอุมาทองสลับ ในหมวด รายวิชา

วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ประวัติเทคโนโลยีสารสนเทศ


a  การเปลี่ยนแปลงสังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์เป็นไปอย่างรวดเร็ว กล่าวกันว่าได้เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เรียกว่า การปฏิวัติมาแล้วสองครั้ง ครั้งแรกเกิดจากการที่มนุษย์รู้จักใช้ระบบชลประทานเพื่อการเพาะปลูก สังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากการเร่ร่อนมาเป็นการตั้งหลักแหล่งเพื่อทำการเกษตร ต่อมาเมื่อประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากที่เจมส์วัตต์ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ำ มนุษย์รู้จักนำเอาเครื่องจักรมาช่วยในอุตสาหกรรมการผลิตและช่วยในการสร้างยานพาหนะเพื่องานคมนาคมขนส่ง ผลที่ตามมาทำให้เกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม สังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเป็นสังคมเมือง และเกิดรวมกันเป็นเมืองอุตสาหกรรมต่าง ๆaaaในช่วง พ.ศ. 2523 เป็นต้นมา ความเจริญก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็ว การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลข้อมูลเป็นไปอย่างกว้างขวาง มีการส่งถ่ายข้อมูลระหว่างกันเป็นจำนวนมาก เกิดการประยุกต์งานด้านต่าง ๆ เช่น ระบบการโอนถ่ายเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต การจองตั๋ว การซื้อสินค้า การติดต่อส่งข้อมูล เช่น โทรสาร (facsimile) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail)



ความหมายและความสำคัญเทคโนโลยีสารสนเทศ





ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระสำคัญ

เทคโนโลยีสารสนเทศมีลักษณะสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ช่วยด้านการบริหาร ช่วยดำเนินการในหน่วยงาน และช่วยอำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบันทึกและจัดเก็บข้อมูล ประมวลผล แสดงผล    การสื่อสารและเครือข่าย


เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับครู


เทคโนโลยีกับบทบาทของครูผู้สอน นักเรียน และผู้ปกครอง


บทบาทของครู
ครูเป็นผู้ที่แนะนำ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ สำหรับเป็นแนวทางในการเรียนรู้ของนักเรียน การนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาช่วยในระบบการศึกษานั้น บทบาทของครูย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงบทบาทของครูย่อมมีผลกระทบถึงความสำเร็จ และล้มเหลวของนโยบายการศึกษาเช่นเดียวกัน


เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน



เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
    เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการ สารสนเทศ เป็นเทคโนโลยี
ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวม การจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ 
เทคโนโลยีสารสนเทศยังรวมถึงเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูลด้วย



วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับชีววิทยา


ชีวสารสนเทศศาสตร์







ชีวสารสนเทศศาสตร์ หรือ ชีววิทยาเชิงคำนวณ (อังกฤษBioinformatics หรือ Computational Biology) เป็นสาขาที่ใช้ความรู้จากคณิตศาสตร์ประยุกต์,สถิติศาสตร์สารสนเทศศาสตร์, และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อแก้ปัญหาทางชีววิทยา.
การศึกษาชีวสารสนเทศศาสตร์ จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลทางพันธุศาสตร์และอณูชีววิทยา เช่น